永遠懷念
1. What people see on court is another side of me; it’s not me.
人們在球場上看到的我是另一個我,那不是我本人。
2. One thing you gotta know about me is I have absolutely no filter. I have no problem saying what the hell I think of someone.
關於我,你必須要知道的是我非常直接。我從來不怕把我對某人最真實的想法全部說出來
3. The most important thing is to try and inspire people so that they can be great in whatever they want to do.
最重要的事就是去努力嘗試與激勵大家,使他們能夠在想做的事上大放異彩。
4. I focus on one thing and one thing only – that’s trying to win as many championships as I can.
我專注於一件事,而且只有這件事 –那就是盡我所能地贏到越多冠軍。
5. I’m here. I’m not going anywhere. No matter what the injury – unless it’s completely debilitating – I’m going to be the same player I’ve always been. I’ll figure it out. I’ll make some tweaks, some changes, but I’m still coming.
我就在這,哪兒也不去,不管受了什麼傷 — 除非我完全衰弱 — 我還是會一直是像以前一樣的球員。我會看著辦,我會做出一些調整、一些改變,但我還是來了。
6. I have self-doubt. I have insecurity. I have fear of failure. I have nights when I show up at the arena and I’m like, “My back hurts, my feet hurt, my knees hurt. I don’t have it. I just want to chill.” We all have self-doubt. You don’t deny it, but you also don’t capitulate to it. You embrace it.
我會懷疑自己,我會缺乏安全感,我會恐懼失敗。我會在那幾個夜晚,在我喜歡的球場上現身時,想著「我的背很痛,我的腳受傷,我的膝蓋受傷。我沒有辦法了,我只想放鬆。」我們都曾自我懷疑,你不需要否認它,但你也不能夠向它屈服。你要做的是去擁抱它。
7. I’m playing against great players, playing against the best in the world. The competition – that’s what I’ve always wanted.
我正在跟偉大的球員們打球,和世界上最好的球員們競爭。這比賽 — 就是我一直想要的。
8. I’ve played with a broken hand, a sprained ankle, a torn shoulder, a fractured tooth, a severed lip, and a knee the size of a softball. I don’t miss 15 games because of a toe injury that everybody knows wasn’t that serious in the first place.
我打球曾經打到手斷、腳踝扭傷、肩膀脫臼、牙齒碎掉、嘴唇裂開、膝蓋腫成一個壘球大小。我不想因為腳趾受傷錯過15場比賽,因為大家都知道腳趾受傷並不嚴重。
9. The topic of leadership is a touchy one. A lot of leaders fail because they don’t have the bravery to touch that nerve or strike that chord. Throughout my years, I haven’t had that fear.
領導這件事是一個敏感的話題。很多領導者失敗,因為他們沒有足夠的勇氣去打破現狀、振奮人心。在我的生涯中,我從沒有這種擔憂。
10. I can’t relate to lazy people. We don’t speak the same language. I don’t understand you. I don’t want to understand you.
我無法了解懶惰的人,因為我們說的是不同的語言。我不了解懶惰的人,我也不想去了解。
11. I don’t want to be the next Michael Jordan, I only want to be Kobe Bryant.
我不想當下一個麥可喬丹,我只想當科比布萊恩。
12. I’m chasing perfection.
我追求完美。
13. Can I jump over two or three guys like I used to? No. Am I as fast as I used to be? No, but I still have the fundamentals and smarts. That’s what enables me to still be a dominant player. As a kid growing up, I never skipped steps. I always worked on fundamentals because I know athleticism is fleeting.
我還能像以前一樣跳躍時跳過兩三個人嗎?不,我不行。我還能像我以前跑得一樣快嗎?不,我不行。但我還保有我的基本功跟打球的智慧,這也是讓我能一直成為主要球員的原因。成長過程中,我從來沒有跳過任何一個步驟,一直按部就班,因為我知道,運動員的生涯是短暫的。
14. I’ll do whatever it takes to win games, whether it’s sitting on a bench waving a towel, handing a cup of water to a teammate, or hitting the game-winning shot.
我願意做任何能夠贏得比賽的事,即使只是坐在板凳上擰毛巾、遞茶水給隊員,或投出致勝一球。
15. Magic has five championships. I have five championships. I’m pretty sure we both know what we’re doing.
魔術強森有五個冠軍。我也有五個冠軍。我敢肯定,我們都知道我們在做什麼。
16. I draw from the crowd a lot.
我從人群學習、得到很多借鏡。
17. I love going one-on-one with someone. That’s what I do. I’ve never lost. It’s a whole different game, just to have them right in front of you and be able to do whatever you want.
我喜歡和某個人一對一,那正是我擅長的,我從來沒輸過。這是一個截然不同的比賽,只是要讓他們走在你前面然後你就可以做任何你想做的事。
18. I’m extremely willful to win, and I respond to challenges. Scoring titles and stuff like that… it sounds, well, I don’t care how it sounds – to me, scoring comes easy. It’s not a challenge to me to win the scoring title, because I know I can.
我非常恣意的贏了,回應了那些挑戰。得分王之類的頭銜……它們聽起來好像,嗯,我不在乎它們聽起來怎樣 — 對我來說,得分並不難。贏得得分王的頭銜對我來說並不算是個挑戰,因為我知道我可以。
19. Everything negative — pressure, challenges — is all an opportunity for me to rise.
每件負面的事 – 壓力、挑戰 – 都是一個讓我提升的機會。
20. These young guys are playing checkers. I’m out there playing chess.
當其他年輕人都在下西洋跳棋時,我已在下西洋象棋了。
21. My parents are my backbone. Still are. They’re the only group that will support you if you score zero or you score 40.
我的父母是我的支柱,現在仍然如此。無論你得的分數是多少,他們都會支持你。
22. If you’re afraid to fail, then you’re probably going to fail.
如果你害怕失敗,那你很有可能會失敗。
23. The most important thing is you must put everybody on notice that you’re here and you are for real. I’m not a player that is just going to come and go. I’m not a player that is going to make an All-Star team one time, two times. I’m here to be an all-time great. Once I made that commitment and said, ‘I want to be one of the greatest ever’, then the game became everything for me.
最重要的是,你必須讓身邊每一個人知道你是玩真的。我不是一個只是在這裡來來去去的球員,我不是一個只會入選全明星賽一兩次而已的球員,我來這裡,是要成為一個能夠跨時代的偉大球星,一旦我做了承諾,說「我想成為有史以來最偉大的」,那麼這場比賽就成為了我的一切。
24. There’s a choice that we have to make as people, as individuals. If you want to be great at something, there’s a choice you have to make. We all can be masters at our craft, but you have to make a choice. What I mean by that is, there are inherent sacrifices that come along with that. Family time, hanging out with friends, being a great friend, being a great son, nephew, whatever the case may be. There are sacrifices that come along with making that decision.
人生中有很多我們要選擇的事。如果你想精通某件事情,你必須做出一個選擇。我們都可以在我們的領域成為大師,但你必須做出選擇。我的意思是每一個我們的決定都會伴隨著犧牲。和家人相處、和朋友出去玩,身為一個好朋友,一個好兒子、侄子,依據情況而定。這些決定都會伴隨著其他事情的犧牲。
25. Are you willing to push the right buttons even if it means being perceived as the villain? … I’d rather be perceived as a winner than a good teammate. I wish they both went hand in hand all the time but that’s just not reality. … I have nothing in common with lazy people who blame others for their lack of success.
即使會被眾人當成惡棍,你還會做對的決定嗎?….我寧願被認為是一個贏家而非一個好隊友。我希望能同時兼顧兩者,但是這是不實際的…. 我和那些懶惰的人 ─ 那些只會將自己沒有成功的原因怪罪於他人的人─ 並沒有任何共同點。
「lost star chord」的推薦目錄:
- 關於lost star chord 在 Winkie Lai 黎美言 Facebook 的最讚貼文
- 關於lost star chord 在 โอตาคุบริโภคมาม่า Facebook 的最佳解答
- 關於lost star chord 在 Lost Stars Guitar Tutorial - Adam Levine Guitar Lesson 的評價
- 關於lost star chord 在 Lost Stars - Adam Levine | Fingerstyle Guitar - YouTube 的評價
- 關於lost star chord 在 Lost Stars (Adam Levine) Guitar Chord Chart | 악보 - Pinterest 的評價
- 關於lost star chord 在 Lost Chord Guitars | Solvang CA - Facebook 的評價
lost star chord 在 โอตาคุบริโภคมาม่า Facebook 的最佳解答
บทความอาจจะยาว แต่ยอดเยี่ยมมากครับ
ขอสรุปสั้นๆใน1บรรทัดว่า
[รสนิยมของสิ่งที่คุณชอบ ขึ้นอยู่กับว่าคุณโตมากับอะไร]
//----------------------------------
ทีนี้ขอพูดความเห็นตัวเองยาวๆมั่ง
เรื่องเดียวกันนี้ก็เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำไม
ผลงาน [วัฒนธรรมไทยๆ] ถึงไปต่างชาติได้ลำบาก
เช่น โขนดั้งเดิมของแท้
ซึ่งผู้ที่เข้าถึงการเสพนั้นได้จะต้องมี
- ความชอบในศิลปะละครเวที
- ความรู้เรื่องภาษากายในรำไทย
- ความรู้เรื่องรามเกียรติ
- ความรู้ในการแยกตัวละครจากหัวโขน
- ความอดทนในการดูลิงรำ30นาทีเพื่อบอกรักยักษ์
และอื่นๆ
เหลือพูดง่ายๆเลยก็คือ มันเป็นศิลปะที่
คุณต้องได้รับการศึกษาเฉพาะด้านมา
ถึงจะเข้าใจได้
ซึ่งแค่เรื่อง ความชอบในศิลปะละครเวที อย่างเดียว
ที่แม้แต่ในประเทศอื่นๆก็เป็นกลุ่มน้อยแล้ว
ยังต้องพอจะมีความรู้ที่แม้แต่คนไทยจำนวนมากก็ยังมีปัญหาในการเข้าถึง
//--------------
แต่ในกรณีของวัฒนธรรมมังงะญี่ปุ่น
สาเหตุหนึ่งที่งานญี่ปุ่นพอจะมีจุดยืนในระดับนานาชาติทั่วโลก
มาจากการที่ผลงานหลายๆเรื่องที่ดัง
มี [ความเข้าถึงได้ง่าย] มาก่อนการ [ความเป็นญี่ปุ่น]
คุณไม่จำเป็นจะต้องมีความรู้เรื่องวัฒนธรรมญี่ปุ่น
คุณก็สามารถสนุกกับ Dragonball ได้
มนุษย์ชาติไหนๆก็สามารถเข้าใจได้ว่า
การถูกยักษ์กินใน Attack on Titan นี่น่ากลัวยังไง
คุณไม่ต้องเป็นคนญี่ปุ่นด้วยซ้ำ
ก็เข้าใจความทุกข์ทรมานที่ซูบารุใน Re:Zero ต้องมาผจญได้
และเพราะการที่วัฒนธรรมมังงะได้มีการเผยแพร่สู่โลกมาเป็นหลายๆสิบปีแล้ว
คนที่เสพมันตั้งแต่เด็กเมื่อ20-30ปีก่อน ก็มากลายเป็นผู้ใหญ่ในวันนี้
ทำให้มันเป็นสื่อที่ค่อนข้างจะได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในปัจจุบัน
---
และปัจจัยที่สำคัญอีกเรื่อง คือในเรื่องของจำนวนผลงาน
ถ้าคุณได้ไปอยู่ญี่ปุ่น คุณจะรู้ได้ว่า ผลงานที่เราเห็นและรู้จักกันในปัจจุบัน
เป็นแค่เศษเสี้ยวของปลายยอดน้ำแข็งที่วางทับกันบนศพของคนที่ไม่ได้เกิด
เพราะความเข้มแข็งของอุตสาหกรรม
ทำให้มีคนที่อยากจะเดินเข้ามางานสายนี้ไม่ขาด
แล้วคนที่ประสบความสำเร็จก็ร่ำรวยกันมหาศาล
พอมีการแข่งขันกันสูงมาก จำนวนผลงานที่ดีก็เลยมีมากตาม
//-----------------------
ทีนี้ ถ้าจะถามผมว่า ทำยังไงถึงจะให้ผลงานของไทยไปอินเตอร์ได้?
ผมขอตอบสั้นๆก่อนว่า [ช่างหัวตลาดไทย]
เพราะจะประสบความสำเร็จในไทยหรือเปล่า
มันก็ไม่ได้เป็นตัวตัดสินเลยว่าจะประสบความสำเร็จในนานาชาติหรือไม่
ถ้าอยากจะให้ประสบความสำเร็จในระดับอินเตอร์
คุณก็ควรจะเน้นไปที่ตลาดนั้นเลย
ในกรณีของผลงานระดับเล็กอย่างมังงะหรือภาพประกอบ
จริงๆแล้วยุคนี้นะเป็นยุคที่คุณสามารถเผยแพร่ผลงานของตัวเอง
ได้ง่ายกว่าสมัยก่อนๆที่คุณต้องพึ่งโรงพิมพ์หรือบริษัทใหญ่
ใครๆก็สามารถเผยแพร่ผลงานให้เป็นที่รู้จักได้
แล้วสมมุติว่าเรามีคนที่สร้างผลงานอยู่ 1หมื่นคน
แล้วแนะให้เขาทำงานที่เน้นไปที่ตลาดนานาชาติแต่แรก
อาจจะมีสักคนหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ
(ซึ่งจริงๆแล้วก็มีคนไทยที่ประสบความสำเร็จจำนวนมากอยู่)
ต่อให้มันเป็นความสำเร็จ1คน
ในกองซากศพของคนที่ไม่ได้เกิดอีก9999คน
มันก็พูดได้ว่า งานไทยได้โกอินเตอร์แล้ว
//-----------
หมายเหตุ
ใครไปดู Liberty Leading the People
แล้วคิดว่ากาก
กรุณาไปเข้าคอร์สปรับทัศนคติโดยด่วน
(1) Amazon ... คุณ Josh H. McDermott อาจารย์ภาควิชาสมองและวิทยาศาสตร์การรับรู้เดินทางไปป่าอเมซอน ประเทศโบลิเวีย เพื่อทำการศึกษาอย่างหนึ่งครับ
เขาเดินทางไปพบชาวบ้านในหมู่บ้าน Tsimane ซึ่งอยู่ห่างไกลจากโลกภายนอก ซึ่งแปลว่าไม่มีเคเบิ้ลทีวี ไม่มีอินเตอร์เน็ต และไม่มีเทเลอร์ สวิฟต์หรือ BNK 48
เขาขอให้ชาวบ้านฟังเสียงดนตรีสองแบบ แบบแรกคือ consonant chord ซึ่งมีท่วงทำนองสอดคล้องกันเหมือนเพลงส่วนใหญ่ที่ชาวตะวันตกหรือเราๆฟังอย่างคุ้กกี้เสี่ยงทาย ฯลฯ
กับดนตรีแบบที่เรียกว่า dissonant chord ที่ทำนองไม่ได้เล่นแบบรื่นหูสอดคล้องกัน คนส่วนใหญ่ฟังแล้วก็อาจจะบ่นว่าหนวกหู ฟังแล้วไม่สบายใจ
หลังจากฟังแต่ละแบบจบ เขาให้ชาวบ้านในหมู่บ้านนั้นเลือกว่าดนตรีที่ได้ยินนั้นฟังแล้ว ‘มีความสุข / ชอบ พึงพอใจ (pleasant)’ หรือ ฟังแล้วไม่ชอบ
ซึ่งถ้ามาถามเราหรือคนเอเชีย คนตะวันตก คนส่วนใหญ่ก็น่าจะบอกว่าดนตรีแบบ consonant chord ที่หล่อหลอมเรามาตั้งแต่เล็กมีความไพเราะ รื่นหู มากกว่า
แต่ผลลัพธ์ปรากฎว่า ชาวบ้านในหมู่บ้าน Tsimane ฟังแล้ว บอกว่าความรู้สึกชอบดนตรีแบบ consonant chord กับ dissonant chord พอๆกัน
ซึ่งทีมวิจัยก็ยังไม่แน่ใจว่า เอ๊ะ ชาวบ้านเข้าใจการวิจัยจริงมั้ยนะ
เลยให้ทำการทดสอบอีกชิ้นที่ให้ฟังเสียงหัวเราะ กับ เสียงโอดครวญ แล้วให้ตอบแบบเดิม ซึ่งพอเป็นเสียงแบบนี้ชาวบ้านตอบออกมาได้เหมือนเราๆคือพอใจกับเสียงหัวเราะ และไม่ได้พึงพอใจกับเสียงโอดครวญ
งานวิจัยชิ้นนี้กำลังบอกว่ารสนิยมความชอบทางดนตรี ไม่ได้ขึ้นกับว่าสมองของเราถูกสร้างมา(innate)ให้ชอบเพลงแนวไหนเท่านั้น
แต่ยังขึ้นกับวัฒนธรรมรอบตัวเราด้วย เช่น ชนชาวเราโตมากับท่วงทำนองเพลงแบบ consonant chord เป็นส่วนใหญ่ ก็มีโอกาสที่ชนชาวเราก็จะชอบเพลงที่มีดนตรีทำนองนี้มากกว่า
ในขณะที่ชนชาวเผ่าในอเมซอนไม่ได้มีเทเลอร์ สวิฟต์หรือ BNK 48 พวกเขาไม่ได้ถูกหล่อหลอมด้วยดนตรีแบบไหนเป็นพิเศษ ดังนั้นเขาก็ไม่ได้รู้สึกว่าดนตรีสอบแบบนี้มีความไพเราะต่างกันมาก
*** สามารถเลือกอ่านต่อใน Blog ที่อ่านง่าย สบายตา พร้อมเปิดดูคลิปเปรียบเทียบ chord ได้ที่ลิงค์นี้จ้า https://medium.com/…/รสนิยมกับคนไทย-ไม่ชอบหนังดี-e31f4a843e… ***
(2) รสนิยม
รสนิยมทางศิลปะ เช่น ชอบฟังเพลงหรือชอบดูหนัง มาจากไหน ?
คำตอบที่เราเรียนรู้มาจนถึงปัจจุบันพอสรุปได้ว่า รสนิยมส่วนหนึ่งถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่เราอยู่ในท้องแม่ตามแนวคิด Brain wiring (สมองมีผังวงจรที่ถูกวางไว้แล้ว)ที่สมองของเราสร้างมาให้เราชอบหรือไม่ชอบอะไรอยู่ก่อนแล้ว
เช่น สมองของคุณถูกออกแบบมาให้มีแนวโน้มจะชอบ BNK 48 และรำคาญเพลงแจ๊ส , ตลกในหนังทุกเรื่องของเป็นเอกแต่ไม่ฮากับมุกทั้งหลายของหนังพจน์ อานนท์ ฯลฯ
ในขณะที่สมองของบางคนมีความสุขกับเพลงแจ๊ส แต่ฟัง BNK 48 กี่รอบก็รู้สึกรำคาญ รวมถึงฮากรามค้างทุกเรื่องในหนังพจน์แต่ไม่เคยตลกกับมุกของเป็นเอกเลย
แต่นอกจาก ‘ถูกกำหนดมาแล้ว’ งานวิจัยที่ถ่อไปถึงอเมซอนของคุณ Josh H. McDermott ก็ยืนยันร่วมกับงานวิจัยที่อีกหลายชิ้นที่มีสมมติฐานเกี่ยวกับ ‘รสนิยมหรือความชอบในทางศิลปะ เช่น ดนตรี ฯลฯ’ ว่า
รสนิยมสามารถถูกสร้างขึ้นมาได้ด้วยจากประสบการณ์และวัฒนธรรม
เช่น
สมมตินะครับว่าสมองของคุณถูกกำหนดมาแล้วให้เป็นคนมีรสนิยมชอบเพลงฮิปฮอป
แต่ไม่ใช่ว่าว่าเกิดมาเราจะรู้ว่าเราชอบเพลงฮิปฮอปเลยนะครับ เพราะถ้าชาตินี้คุณฟังแต่ป๊อบกับลูกทุ่งตั้งแต่ทารกโดยไม่มีฮิปฮอปมาเข้าหูก็คงยากมากที่จะรู้แจ้งว่าชอบฮิปฮอป จนกว่า ‘สมอง’ ของเราจะได้เสพฮิปฮอป
แต่ต่อให้ได้ฟังก็เถอะ บางคนได้ฟังเพลงฮิปฮอปแค่ครั้งเดียวอาจไปคลิกกับสมองที่มีแนวโน้มจะชอบอยู่แล้วก็กลายเป็นชนชาวฮิปฮอปเลย แต่สมองก็ไม่ได้มีสูตรตายตัวแบบนั้น เพราะหลายคนที่แม้ ‘สมองจะถูกวางผังมาให้ชอบฮิปฮอป’ ก็ไม่ใช่ว่าฟังครั้งเดียวจะชอบเสมอไปเพราะมัน ‘ไม่คุ้นเคย’ จนกว่าจะฟังบ่อยๆหลายๆรอบจึงเริ่มเข้าถึง เริ่มชอบ และ กลายเป็นแฟนเพลงฮิปฮอป
ดังนั้นรสนิยมจะเกิดขึ้นมาได้ ก็ต้องอาศัยประสบการณ์หรือวัฒนธรรมที่เราโตมาด้วย
ประเด็นคือแล้วใครละสร้างวัฒนธรรม?
***
(3) ครอบครัว , นายทุน และกระทรวงวัฒนธรรม
ถ้าโตมากับพ่อแม่ที่บังคับให้ฟังแต่เพลงคลาสสิค ไม่ยอมให้ฟังเพลงอื่นๆเลย แม้สมองจะมีแนวโน้มชอบฮิปฮอปแต่โอกาสที่คุณจะเป็นชนชาวฮิปฮอปก็น้อยลง (ยกเว้นออกมาได้ยินนอกบ้าน)
ถ้าโตมากับกระทรวงวัฒนธรรมในประเทศที่ส่งเสริมแต่เพลงคลาสสิค บังคับให้โรงเรียนสอนแต่เพลงคลาสสิค ยัดเยียดแต่เพลงคลาสสิกกล่อมหูประชาชน แล้วสั่งแบนการฟังเพลงฮิปฮอปเพราะมองว่าเป็นวัฒนธรรมที่หยาบคาย โอกาสที่คุณจะค้นพบฮิปฮอปก็น้อยลงไปใหญ่
ถ้านายทุนที่ทำธุรกิจดนตรีในบ้านคุณ ไม่ชอบความเสี่ยงและเน้นแต่กำไรก้อนโตจึงไม่สนับสนุนศิลปินฮิปฮอปให้มีผลงาน โอกาสที่คุณจะฮิปฮอปก็น้อยลงเช่นกัน
หรือว่าง่ายๆถ้าโตมาในบ้านเมืองที่มีแนวคิด ‘คับแคบ’ หรือมีทางเลือกในการเสพน้อย
คุณก็จะมีรสนิยมแบบ ‘แคบๆ’ เพราะสมองของคุณไม่มีโอกาสได้หล่อหลอมหรือทดลองเสพวัฒนธรรมที่หลากหลาย
คุณจึงไม่ค้นพบความชอบหรือสนใจแบบอื่นๆ
และรสนิยมบางอย่างก็อาจถูกซุกไว้ซอกหลืบของสมองคุณไปจนตาย
(เหมือนเรื่องจริงของ ปาร์กยอนมี หญิงเกาหลีเหนือที่หากไม่ได้หนีออกนอกประเทศ คงไม่ซาบซึ้งหรือค้นพบแนวคิดเรื่องความรักแบบหนัง Titanic เพราะเธอโตมากับประสบการไม่เคยเสพสื่ออย่างอื่นเลยนอกจากรัฐ พอตอนดู Titanic ครั้งแรกในชีวิตเธอบอกว่ามหัศจรรย์ เธอไม่เคยเข้าใจความรักหรือรสนิยมอะไรแบบนี้มาก่อนเลย)
***
(4) คนไทยไม่ชอบหนังรางวัล
“อยากให้มีหนังรางวัลอ๊อดสะก้าเข้าฉาย ก็ไปอุดหนุนกันเยอะๆซิ เค้าจะได้ไม่ขาดทุน”
“อยากให้มีหนังเสียงซาวแทร็คเข้าฉาย เวลาฉายก็ไปดูกันเยอะๆซิ เค้าจะได้กล้าเอาเข้ามาอีก”
แนวคิดอุปสงค์-อุปทานแบบนี้ ถูกต้องครับและผมเชื่อว่าคนส่วนใหญ่ก็รู้แล้วก็เห็นด้วยอย่างแน่นอนครับว่า โรงหนังทำธุรกิจ ดังนั้นคนทำธุรกิจย่อมไม่มีใครอยากเจ๊ง และยิ่งถ้าได้กำไรก็จะยิ่งทำให้เขาอยากทำแบบนั้นต่อ
แต่ด้วยคำพูดแบบข้างต้น สิบปีก่อนตอนเล่นพันทิปผมก็เคยได้ยิน ผ่านมาปัจจุบัน เราก็ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ผมก็ยังได้ยินคำบ่นในวงการหนังที่มีโรงให้กับหนังรางวัล/หนังซาวแทร็คน้อย หรือคำบ่นในวงการคนดูละครที่วนเวียนอยู่กับละครไม่กี่แนว
ปัญหาอยู่ตรงไหน ?
ถ้าเชื่อตามสมมติฐานข้างต้นก็คงเป็นเพราะคนดูไง
คนไม่ไปดูกันเยอะๆเขาก็ไม่กล้าลงทุน
แต่หากจะโทษคนดู ผมก็สงสัยว่าจะมีคนดูเยอะๆได้ยังไงในเมื่อเวลามีหนังชิงรางวัลหรือหนังซาวแทร็คเข้า ก็มักได้รับเกียรติให้ฉายแค่ไม่กี่รอบแถมเป็นรอบประหลาดๆเช่น
- ภาคตะวันออกทั้งภาคฉายแค่ที่พัทยา
- ฉายวันละ 2 รอบคือ รอบบ่ายสาม (ที่คนยังไม่เลิกเรียนกับไม่เลิกงาน) กับ รอบสามทุ่ม (ที่เป็นเวลาห้างปิดและเข้าบ้านนอน)
ดังนั้นการจะแสดงพลังสนับสนุนหนังซาวแทร็คหรือหนังอ๊อดสะก้า คนรักหนังกลุ่มนี้ต้องดิ้นรน กระเสือกกระสนเดินทางข้ามจังหวัด เพื่อการดูหนังหนึ่งเรื่องในขณะที่อยากดู Star wars ไม่ต้องพยายามอะไรมากขนาดนั้น มันต้องพยายามมากเหลือเกิน
ซึ่งเมื่อเราไม่อยากโดดงานไปดูหนัง ไม่อยากเสียค่าน้ำมันเพื่อเดินทางข้ามจังหวัดไปดูหนัง ไม่อยากเสียเวลากับคนในบ้านเพราะจะต้องไปดูรอบดึกๆที่ควรอยู่บ้านกับครอบครัวแล้วพักผ่อน ฯลฯ ก็ทำให้ ‘รายได้’ของหนังเรื่องนั้นๆน้อย แล้วก็นำไปสู่บทสรุปว่า
“คนไทยหรือคนต่างจังหวัดยังไม่พร้อมกับหนังแบบนี้”
เกิดเป็นวงจรสืบสานจากรุ่นพ่อไปจนถึงรุ่นเหลนโหลน
***
(5) เครื่องวัดรสนิยม
สมมตินะครับ มีอุปกรณ์วิเศษเรียกว่า ‘เครื่องวัดรสนิยม’ คือไม่ได้วัดว่ารสนิยมดีหรือแย่นะครับ แต่วัดปริมาณว่ารสนิยมแบบไหนเป็นที่นิยมมากกว่ากัน
ก็คงปฏิเสธไม่ได้ว่ารสนิยมของคนที่ชอบหนังตลาดดูง่ายย่อมมีมากกว่าหนังนอกกระแสหรือหนังชิงรางวัลที่เข้าถึงยาก
เพราะ ‘ภาพยนตร์’ สำหรับคนส่วนใหญ่ยังเป็นเรื่องความบันเทิง คลายเครียดจากเวลางาน การดูหนังเป็นกิจกรรมที่ใช้ร่วมกันยามว่างของครอบครัว
จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่แม้แต่เมืองนอก สัดส่วนของหนังรางวัลที่เข้าฉายโรงจึงน้อยกว่าหนังตลาด ดูอย่างล่าสุดก็ได้ครับที่อเมริกา
หนังดราม่าเข้าชิงออสการ์แบบ Phantom Thread ที่เห็นโปสเตอร์ก็อาจจะง่วงแล้ว มีเข้าฉาย 896 โรง และแม้จะเป็นหนังที่ดูง่ายขึ้นมาอย่าง Ladybird ก็เข้าฉายแค่ไม่กี่ร้อยโรงจนขยับไปขึ้นไปเป็น 1,194 โรง
หรือแม้แต่หนังที่เป็นดราม่าบ้านเราตอนนี้ The Shape of Water ก็เริ่มจาก 726 โรงแล้วพอรู้ว่าเข้าชิงออสการ์สูงถึงสิบสามสาขาก็ได้โรงเพิ่มเป็น 1,854 โรง
ในขณะที่ช่วงเวลาเดียวกันหนังแอคชั่นภาคต่อ Maze Runner: The Death Cure แผ่ไพศาลไปทั่วอเมริกาด้วยจำนวน 3,786 โรง
ดังนั้นแม้คอหนังจะอยากให้มีโรงสำหรับฉายหนังรางวัลมากกว่านี้ แต่ถ้าไม่โลกสวยจนเกินไปก็คงต้องยอมรับความจริงว่าคงเป็นไปไม่ได้หรอกครับที่โรงหนังจะเพิ่มโรงให้หนังดราม่าช่างตัดเสื้อ Phantom Thread เป็น 3500 โรงพอๆกับหนังแอคชั่นหลงเขา(วงกต) Maze Runner
การจะไปเรียกร้องให้ช่วยฉายหนังชิงรางวัลให้มีจำนวนโรงฉายพอๆกับหนังแอคชั่นทำเงิน หรือเรียกร้องให้เอา Phantom Thread มาฉายที่โรงเมเจ้อในห้างโลตัสอำเภอหนองตะกรุม ฯลฯ คงเป็นการเรียกร้องที่ไม่ดูความเป็นจริงนักว่า ‘ปริมาณรสนิยม’ ของหนังบางแบบมันมีน้อยจริงๆ
ต่อให้เมืองนอกก็เถอะ หนังนอกกระแสหลายเรื่องก็ไม่ได้เข้าทั้งประเทศ
แต่ที่ว่าปริมาณรสนิยมน้อยจนไม่คุ้ม ไม่ฉาย , มันน้อยขนาดไหนละ
เพราะถ้าน้อยในระดับ The Shape of Water ซึ่งเป็นหนังที่ไม่ได้ดูยากหรือง่วงมาก แถมรู้แล้วว่าเข้าชิงออสการ์ถล่มทลายแต่กลับเข้าฉายบ้านเราไม่ถึงสิบโรง ตอนแรกที่เข้าฉายก็แค่สองจังหวัดคือกรุงเทพกับเชียงใหม่ และกระทั่งในกรุงเทพที่มีโรงหนังประมาณ 320 โรงแต่ฉายแค่ 3 โรง
เมื่อความน้อยในบ้านเราที่น้อยอยู่แล้ว ยิ่งน้อยลงเรื่อยๆ
ผมคิดว่า อันนี้ควรตั้งคำถามละว่าเกิดอะไรขึ้น
***
(6) คนไทยไม่ชอบ(ละคร)หนังดี
เวลาถกกันเรื่องรสนิยม มักจะมีดราม่าตามมาเมื่อเรายกว่ารสนิยมแบบไหนดี แบบไหนห่วย แต่ที่ผมกำลังจะเขียนถึงตรงนี้ไม่ได้เกี่ยวกับคุณภาพของรสนิยมว่าดีหรือห่วยนะครับ
แต่กำลังพูดถึง ‘ปริมาณ’
เราอาจต้องยอมรับว่ารสนิยมสาธารณ์ของประเทศเราหรือความชอบของคนส่วนใหญ่ในประเทศสำหรับหนังแนวชิงรางวัล , ชอบหนังซาวแทร็ค , ชอบละครหรือซีรี่ส์ในสไตล์ฝรั่งที่ต้องคิดมากมีสาระสอดแทรก ฯลฯ อาจจะมีปริมาณคนชอบในสัดส่วนที่น้อยกว่า หนังแอคชั่น หนังตลก หนังผี หรือ ละครผัวเมียตบตี ละครสะท้อนรักชาติสมัยอยุธยา ฯลฯ
คือน้อยกว่าหนะไม่แปลก แต่น้อยกว่าที่อื่นมาก
เพราะรสนิยมของคนชอบหนังอาร์ต , หนังเจ้ย , หนังชิงรางวัลอ๊อดสะก้า , ซีรี่ส์ซับซ้อนแบบ Lost , ซีรี่เน้นเนื้อหาสาระ ฯลฯ ในต่างประเทศเช่น ญี่ปุ่น , อเมริกา , ฝรั่งเศส ฯลฯ ก็มี‘ปริมาณคนชอบ’ น้อยกว่า หนังไมเคิล เบย์ , หนังสตาร์ วอส์ ฯลฯ นั่นแหละครับ
เพียงแต่สัดส่วนของรสนิยมที่ชอบน้อยกว่าของเขายังพอประคองให้มีการเข้าถึงประชาชนชนจำนวนมาก ในบ้านเรามันน้อยกว่ามากๆๆๆๆๆๆ น้อยกว่าประเทศที่มีความแข็งแกร่งและหลากหลายทางรสนิยมด้านศิลปะเช่น ภาพยนตร์ , ดนตรี ฯลฯ
จนทำให้ ‘ความน้อย’ ของบ้านเราไม่คุ้มที่นายทุนจะสร้างงานออกมาหรือเพิ่มปริมาณให้เข้าถึงคนในประเทศแต่ไปกระจุกอยู่แต่ที่ศูนย์กลางคือกรุงเทพหรือเชียงใหม่
ซึ่งที่มาของความน้อยทางรสนิยมจะบอกว่าเป็นสมองอย่างเดียวก็คงไม่ได้ คือคงไม่ใช่เพราะคนไทยเกิดมาปุ๊บก็มีสมองที่ไม่อยากดูหนังออสการ์เกือบทั้งประเทศ
แต่มันอาจอธิบายได้ด้วย ‘วัฒนธรรม’ และ ‘โอกาสการเข้าถึงงานศิลปะ เช่น หนัง , ดนตรี ฯลฯ’ ที่มีมาตลอด
ปัญหาของเรา คือเราต่างจากชนเผ่าอเมซอนที่ไม่มีอะไรมาหล่อหลอมก็เลยชอบดนตรีทั้งสองแบบ แต่เราถูกหล่อหลอมมาตลอด เพียงแต่วัฒนธรรมที่หล่อหลอมมันไม่หลากหลาย มันมีเบ้าหลอมแบบละครเน้นดราม่าหรือหนังตลกหนังผีที่หล่อหลอมรสนิยมแบบนี้มายาวนานจนแทบไม่มีทางเลือกอื่นเลย
ตัวอย่างง่ายๆครับ เช่น เด็กชายมนัส
สมองของนายมนัสอาจจะถูกออกแบบให้ชอบหนังสไตล์เจ้ย-อภิชาติพงศ์ แต่มนัสอยู่ต่างจังหวัดที่ห่างไกลจากความเจริญ บ้านยากจน เลิกเรียนก็ต้องไปช่วยพ่อกรีดยาง ยามว่างก็ได้ดูแต่ทีวี อาจจะเคยดูหนังเจ้ยหนึ่งครั้งที่เอามาฉายเคเบิ้ล แล้วเวลาดูที่บ้านก็ไม่มีสมาธิดูเท่าไหร่นัก ภาพก็ไม่ชัดในจอเล็กๆแถมโดนเซ็นเซอร์
ดูครั้งแรก มนัสก็งงๆว่าจะเสียเวลาดูหนังที่แช่ภาพถ่ายต้นหญ้านานๆทำไม เดินไปหน้าบ้านก็เห็นต้นหญ้าเหมือนกัน
ดังนั้นเมื่อโตขึ้นโอกาสที่มนัสจะนั่งรถสองแถวเข้าจังหวัด เพื่อไปสนับสนุนหนังเจ้ยในเมือง ก็ย่อมน้อยลง แต่ถ้าตั้งแต่เล็ก มนัสมีโอกาสได้ดูหนังที่หลากหลาย ได้ดูหนังบ่อยๆก็อาจชอบหนังแนวนี้ได้ แล้วก็อาจจะกลายเป็นอีกหนึ่งพลังที่ชอบหนังแบบเจ้ย แล้วพอหนังชิงรางวัลเข้าฉายก็ไปช่วยให้โรงหนังอยู่รอด
แต่เมื่อโอกาสในการเสพสื่อน้อย
เมื่อตัวเลือกให้เสพนั้นไม่หลากหลาย
ต่อให้วันหนึ่งนายทุนใจป้ำ ประกาศฉายหนังอ๊อดสะก้าทั่วประเทศแบ่งโรงกับหนังแอคชั่นอย่างละครึ่ง ก็คงเจ๊งอยู่ดี
เพราะรสนิยมสาธารณ์ในบ้านเราไม่มากพอที่จะทำให้ธุรกิจอยู่ต่อได้
มันกลายเป็นปัญหาแบบงูกินหาง
***
(7) ทางออก
เวลาที่คนเสนอแนวทางให้หนังดีๆหรือหนังนอกกระแสอยู่รอด ด้วยการยกโมเดล ‘โหมโรง’ ที่จุดกระแสจากพันทิปจนประสบความสำเร็จ
เดิมผมก็เชื่อว่าเป็นตัวอย่างที่ดี แต่จนถึงทุกวันนี้ ผมคิดว่ามันแปลกที่เราต้องพยายามแบบนี้กับหนังแทบทุกเรื่อง เช่น อยากดู The Shape of water ก็ช่วยกันจุดกระแสให้โรงหนังเพิ่มโรง ช่วยกันล่ารายชื่อให้โรงหนังฉายมากขึ้น ฯลฯ
คือใช้กับหนังที่ดูยากมากหรือนอกกระแสจริงๆอะไรแบบนั้นก็โอเค แต่ถ้าจะต้องทำแบบนี้กันแทบทุกเรื่องนั้นน่าเป็นห่วง
และวิธีการแบบนี้ผมคิดว่ามันใช้ได้แค่ครั้งคราวเพราะจำนวนคนไปดูคือไปเพราะ ‘กระแส’ มากกว่าจะไปเพราะอยากไปดูหนังแนวนี้ดังนั้นพอมีหนังดราม่าดีๆแต่ไม่ได้จุดกระแสรักชาติแบบโหมโรงก็ล้มเหลวเหมืิอนเดิม
ผมจึงคิดว่า สิ่งที่จะยั่งยืนมากกว่าและช่วยสนับสนุนโรงหนังได้มากกว่าคือการสร้าง ‘รสนิยมสาธารณ์’
คือมีจำนวนคนที่อยากเดินทางไปดูหนังแบบนี้จริงๆมากขึ้น มีคนที่พร้อมติดตามละครดีๆจริงๆมากขึ้น โดยไม่ต้องรอให้ใครมาจุดกระแส
แต่รสนิยมจะเกิดขึ้นจนมี ‘จำนวนคน’ ไปอุดหนุนโรงหนังหรืออุดหนุนนายทุนที่ทำละครให้สร้างงานเหล่านั้นได้อย่างไร ในเมื่อคนรุ่นเก่าก็ไม่ได้ชอบหนังแนวนี้อยู่แล้ว
และคนรุ่นใหม่ก็ไม่มีโอกาสได้เสพเพื่อ ‘สร้างรสนิยม’ ใหม่ๆเลย ตราบใดที่
- นายทุนไม่ให้ทุนคนทำละครหลากหลายแนวเพราะมองแต่กำไรที่มากอย่างเดียว ไม่ยอมเจียดกำไรให้น้อยลงเพื่อสร้างงานที่เป็นรสนิยมใหม่ๆ
- ค่ายหนังไม่อยากเอาหนังนอกกระแสเข้าโรงเพราะคำนวณจากค่า VPF ค่าโน่นนั่นนี่ก็ไม่คุ้ม
- โรงหนังไม่อยากฉาย หักค่าโน่นนั่นนี่มากเกินไป หรือจัดรอบให้แบบทำบุญทำทาน คือบ่ายสามกับสามทุ่มก็ไม่มีคนดู
- รัฐบาลไม่กระตุ้นหรือสนับสนุนงานศิลปะที่หลากหลาย
และข้อสำคัญ มันก็ไม่มีทางเกิด หากประชาชนไม่สนับสนุนเวลามีงานเหล่านี้ออกมา
มันจึงไม่ใช่แค่เรียกร้องที่ ‘คนดู’ กับ ‘คนทำหนัง’
แต่การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นก็ต้องเรียกร้องในระดับรัฐและนายทุน เพราะพวกเขาเหล่านั้นคือส่วนสำคัญในการสร้าง ‘วัฒนธรรม’ และก็จะนำไปสู่รสนิยมซึ่งจะช่วยเหลือกันและกันให้ยั่งยืน
================================
ประกาศถึงเพื่อนผู้อ่าน 0.1%
================================
เพื่อนๆผู้อ่านสามารถให้กำลังใจเพจที่ท่านชอบด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีเพื่อเป็นแรงใจให้คนเขียนเพจให้มีแรงเขียนต่อไป … แต่ เดี๋ยวก่อน … ถ้าไม่อยากเสียเงินก็ยังได้ เพียงแค่
พิมพ์คอมเม้นต์ หรือ กด Like หรือ กด share สเตตัสนั้นๆแบบให้มีเนื้อหาติดไปด้วย
เพื่อให้สเตตัสนั้นๆเข้าถึงคนอ่านมากขึ้น เพราะพี่มาร์คแห่งเฟซบุ้คได้ควบคุมให้สเตตัสของเพจเข้าถึงคนอ่านน้อยลง จนกว่าจะจ่ายเงิน ยิ่งจ่ายยิ่งมีคนเห็นเยอะ
จึงเรียนเชิญผู้มีจิตศรัทธากด like / share หรือ comment ลงในเพจ หรือถ้าท่านมีความศรัทธาในสิ่งที่พิสูจน์ไม่ได้จะพิมพ์สาธุ99ตอบทุกครั้งก็ยังดีจ้า (เอาวะ สู้กับพลังเงินและอัลกอริธึ่มของพี่มาร์ค อะไรก็เอา)
======
คนอ่าน 0.1% คืออะไร ? อ่านคำตอบได้ที่นี่จ้า
https://www.facebook.com/…/a.2860538783…/10155467030323318/…
lost star chord 在 Lost Stars - Adam Levine | Fingerstyle Guitar - YouTube 的推薦與評價
Lost Stars - Adam Levine | Fingerstyle Guitar | TAB + Chords + Lyrics. Kenneth Acoustic. Kenneth Acoustic. 533K subscribers. Subscribe. ... <看更多>
lost star chord 在 Lost Stars (Adam Levine) Guitar Chord Chart | 악보 - Pinterest 的推薦與評價
Lost Stars (Adam Levine) Guitar Chord Chart Guitar Chords For Songs, Guitar Chord. More like this. munsonmusic. Munson Music. 13k followers. ... <看更多>
lost star chord 在 Lost Stars Guitar Tutorial - Adam Levine Guitar Lesson 的推薦與評價
Lost Stars Guitar Tutorial - Adam Levine Guitar Lesson |Easy Chords + Guitar Cover| ▻ FREE Chord & Songwriting Guitar eBook ... ... <看更多>